backup og meta
สำรวจ
เครื่องมือตรวจเช็กสุขภาพ
ถามคุณหมอ
บันทึก
สารบัญ

โวริโคนาโซล (Voriconazole)

ตรวจสอบข้อมูลทางการแพทย์โดย เภสัชกรอาชานนท์ สมศักดิ์ · ยาและอาหารเสริม · Hello Health Group


เขียนโดย พลอย วงษ์วิไล · แก้ไขล่าสุด 11/05/2020

ข้อบ่งใช้

ยา โวริโคนาโซล ใช้สำหรับ

ยาโวริโคนาโซล (Voriconazole) เป็นยาต้านเชื้อรากลุ่มไตรอะโซล (triazole) มักใช้เพื่อรักษาการติดเชื้อรา เช่น การติดเชื้อราแคนดิดาแบบลุกลาม (invasive candidiasis) การติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม (invasive aspergillosis) และการติดเชื้อรารุนแรงอื่นๆ ยานี้มักจะใช้กับผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง

วิธีการใช้ยา โวริโคนาโซล

ฉีดยาโวริโคนาโซลตามที่แพทย์กำหนด ควรอ่านข้อมูลทั้งหมดที่ได้รับและทำตามแนวทางการใช้ยาอย่างใกล้ชิด

เพื่อให้ได้ประโยชน์จากยาสูงสุดควรใช้ยาให้ครบตามกำหนด

ควรใช้ยานี้อย่างต่อเนื่อง ตามที่แพทย์หรือผู้ดูแลสุขภาพกำหนด แม้ว่าคุณจะรู้สึกเป็นปกติแล้วก็ตาม

การเก็บรักษายา โวริโคนาโซล

ยา โวริโคนาโซล ควรเก็บที่อุณหภูมิห้อง หลีกเลี่ยงแสงหรือความชื้น เพื่อป้องกันไม่ให้ตัวยาเกิดความเสียหาย ไม่ควรเก็บยานี้ในห้องน้ำหรือช่องแช่แข็ง ยาโวริโคนาโซลบางยี่ห้ออาจจะต้องเก็บรักษาแตกต่างกัน จึงควรตรวจสอบฉลากยาหรือสอบถามเภสัชกรเสมอ เพื่อความปลอดภัย โปรดเก็บยาให้ห่างจากมือเด็กและสัตว์เลี้ยง

ไม่ควรทิ้งยา โวริโคนาโซล ลงในชักโครก หรือเทยาลงในท่อระบายน้ำ เว้นแต่ได้รับคำแนะนำให้ทำเช่นนั้น ควรกำจัดยาด้วยวิธีที่ถูกต้อง เมื่อยาหมดอายุ หรือไม่มีความจำเป็นต้องใช้งาน โปรดสอบถามเภสัชกรเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีการกำจัดยาที่ถูกต้อง

ข้อควรระวังและคำเตือน

ข้อควรรู้ก่อนใช้ยา โวริโคนาโซล

ก่อนการใช้ยานี้ควรแจ้งให้แพทย์ทราบหาก

  • คุณกำลังตั้งครรภ์ หรือให้นมบุตร เนื่องจากในช่วงที่คุณกำลังตั้งครรภ์หรือกำลังให้นมบุตร ควรใช้ยาตามที่แพทย์แนะนำเท่านั้น
  • หากคุณกำลังใช้ยาอื่นอยู่ รวมทั้งยาที่หาซื้อได้เอง เช่น สมุนไพรหรือยาทางเลือกอื่นๆ
  • หากคุณแพ้สารออกฤทธิ์หรือไม่ออกฤทธิ์ ของยาโวริโคนาโซลหรือยาอื่นๆ
  • หากคุณมีอาการป่วย มีความผิดปกติ หรือมีสภาวะทางการแพทย์อื่นๆ
  • หากคุณมีระดับแคลเซียมต่ำ
  • หากคุณมีปัญหาสุขภาพอย่างเช่น ระดับของโพแทสเซียมหรือแมกนีเซียมต่ำ
  • หากคุณกำลังใช้ยาดังต่อไปนี้ คือ แอสเทมมีโซล (Astemizole) คาร์บาเมเซพีน (carbamazepine) ซิซาไพรด์ (cisapride) ไดไฮโดรเออร์โกตามีน (dihydroergotamine) เอฟฟาไวเร็นซ์ (efavirenz) เออร์โกโนวีน (ergonovine) เออร์โกตามีน (ergotamine) เอเวอโรลิมัส (everolimus) ฟลูโคนาโซล (fluconazole) เมทิลเออร์โกโนวีน (methylergonovine) ฟีโนบาร์บิทัล (phenobarbital)
  • หรือยาอื่นที่คล้ายกับยานี้ พิโมไซด์ (pimozide) ควินิดีน (quinidine) ไรฟาบูติน (rifabutin) ไรแฟมพิน (rifampin) ริโทนาเวียร์ (ritonavir) ไซโรลิมัส (sirolimus) สมุนไพรเซนต์จอห์น (St John’s wort) หรือเทอร์เฟนาดีน (terfenadine)

แจ้งให้ผู้ดูแลสุขภาพทั้งหมดของคุณทราบว่า คุณกำลังใช้ยานี้ ทั้งแพทย์ พยาบาล เภสัชกร และทันตแพทย์

หลีกเลี่ยงการขับรถหรือทำกิจกรรมที่ต้องการความตื่นตัวหรือการมองเห็นที่ชัดเจน จนกว่าคุณจะทราบว่ายาโวริโคนาโซลส่งผลต่อคุณอย่างไร

หลีกเลี่ยงการขับรถในตอนกลางคืน

ควรทำการตรวจดวงตา หากคุณใช้ยานี้เป็นเวลานาน โปรดปรึกษากับแพทย์เพิ่มเติม

ควรทำการตรวจการทำงานของเลือดตามที่แพทย์กำหนด โปรดปรึกษากับแพทย์เพิ่มเติม

อย่าใช้ยานี้นานกว่าที่กำหนด เพราะอาจเกิดติดเชื้อครั้งที่สอง

คุณอาจมีอาการแดดเผาได้ง่ายขึ้น ควรหลีกเลี่ยงสงแดด ทาครีมกันแดดและสวมเสื้อผ้าป้องกันจากแสงแดด

แสงจ้านั้นอาจรบกวนคุณได้ ควรสวมแว่นกันแดด

อาจเกิดอาการหัวใจเต้นผิดปกติที่ไม่ปลอดภัยอย่างอาการระยะคิวทียาวเมื่อใช้ยาโวริโคนาโซลผู้ที่ใช้ยานี้อาจเกิดการเสียชีวิตแบบเฉียบพลัน แต่พบไม่บ่อย โปรดปรึกษากับแพทย์เพิ่มเติม

ควรระมัดระวังการใช้ยานี้ในเด็ก โปรดปรึกษากับแพทย์เพิ่มเติม

ควรมีการคุมกำเนิดที่น่าเชื่อถือ เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ระหว่างใช้ยาโวริโคนาโซล

ยานี้อาจเป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์ หากคุณใช้ยาระหว่างตั้งครรภ์ หากคุณกำลังตั้งครรภ์ หรือเกิดตั้งครรรภ์ขณะที่กำลังใช้ยานี้ โปรดติดต่อแพทย์ในทันที

แจ้งให้แพทย์ทราบ หากคุณกำลังให้นมบุตร คุณจำเป็นต้องปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับความเสี่ยงต่อลูกของคุณ

ความปลอดภัยต่อการตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร

ยังไม่มีงานวิจัยที่น่าเชื่อถือ เกี่ยวกับความเสี่ยงในสตรีที่ใช้ยานี้ ในช่วงการตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร โปรดปรึกษาแพทย์เพื่อหาประโยชน์และความเสี่ยงก่อนการใช้ยานี้

ยาโวริโคนาโซลจัดอยู่ในประเภทของยาที่มีความเสี่ยงต่อสตรีมีครรภ์ หมวด D โดยองค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา (FDA)

การจัดประเภทของยาที่มีความเสี่ยงต่อสตรีมีครรภ์โดยองค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกามีดังนี้

  • A= ไม่มีความเสี่ยง
  • B= ไม่พบความเสี่ยงในการวิจัยบางชิ้น
  • C= อาจจะมีความเสี่ยง
  • D= มีหลักฐานแสดงถึงความเสี่ยง
  • X= ห้ามใช้
  • N= ไม่ทราบแน่ชัด

ผลข้างเคียง

ผลข้างเคียงของการใช้ยา โวริโคนาโซล

แจ้งให้แพทย์ทราบหรือรับการรักษาในทันที หากคุณมีสัญญาณและอาการ ที่อาจเกี่ยวข้องกับผลข้างเคียงที่รุนแรงดังต่อไปนี้

  • สัญญาณของอาการแพ้ ได้แก่ ผดผื่น ลมพิษ อาการคัน รอยแดง อาการบวม แผลพุพอง หรือผิวหนังลอก โดยมีหรือไม่มีไข้ หายใจมีเสียงหวีด แน่นหน้าอกหรือลำคอ หายใจติดขัด หรือมีปัญหากับการพูด เสียงแหบผิดปกติ หรือมีอาการบวมที่ปาก ใบหน้า ริมฝีปาก ลิ้น หรือลำคอ
  • สัญญาณของของปัญหาเกี่ยวกับตับอ่อน เช่น โรคตับอ่อนอักเสบ (pancreatitis) อย่างอาการปวดกระเพาะอาหารอย่างรุนแรง ปวดหลังอย่างรุนแรง หรือท้องไส้ปั่นป่วนอย่างรุนแรงหรืออาเจียน
  • สัญญาณของปัญหาเกี่ยวกับตับ เช่น ไม่สามารถปัสสาวะได้ ปริมาณปัสสาวะเปลี่ยนแปลง มีเลือดในปัสสาวะ หรือน้ำหนักขึ้นอย่างมาก
  • เป็นไข้หรือหนาวสั่น
  • ปวดหน้าอก มีแรงดัน หรือหัวใจเต้นเร็ว
  • ปวดกระดูก
  • วิงเวียนอย่างรุนแรงหรือหมดสติ
  • หัวใจเต้นผิดปกติ
  • เห็นภาพหลอน (มองเห็นหรือได้ยินสิ่งที่ไม่มีอยู่)
  • เหงื่อออกมาก
  • มองเห็นไม่ชัด
  • การมองเห็นเปลี่ยนแปลง
  • ตาแพ้แสง
  • ผิวไหม้จากแดด
  • ผิวหนังมีปฏิกิริยาไวต่อแสง
  • โรคมะเร็งผิวหนังบางชนิดอาจเกิดขึ้นได้ กับผู้ที่ถูกแสงแดดรบกวนเมื่อใช้ยาโวริโคนาโซลเป็นเวลานาน แจ้งให้แพทย์ทราบในทันที หากไฝเกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านสีหรือขนาด หรือมีการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังหรือเนื้องอกอื่นๆ
  • อาจเกิดปฏิกิริยาผิวหนังที่รุนแรง เช่น กลุ่มอาการสตีเวนส์จอห์นสัน (Stevens-Johnson syndrome) หรือโรคท็อกซิกอีพิเดอร์มัลเนโครไลซิส (toxic epidermal necrolysis) อาการนี้สามารถทำให้เกิดปัญหาสุขภาพที่รุนแรงที่ไม่หายไป และอาจทำให้เสียชีวิตได้ รับการรักษาในทันที หากคุณมีสัญญาณ อย่างรอยแดง บวม แผลพุพอง หรือผิวลอก (โดยมีหรือไม่มีไข้) ตาแดงหรือมีอาการระคายเคือง หรือมีแผลที่ปาก ลำคอ จมูก หรือดวงตา
  • ในบางครั้ง อาจเกิดปัญหาเกี่ยวกับตับที่รุนแรง และอาจถึงแก่ชีวิต ติดต่อแพทย์ในทันที หากคุณมีสัญญาณของปัญหาเกี่ยวกับตับ เช่น ปัสสาวะสีคล้ำ รู้สึกเหนื่อยล้า ไม่รู้สึกหิว ท้องไส้ปั่นป่วน หรือปวดท้อง อุจจาระสีอ่อน อาเจียน หรือดวงตาหรือผิวหนังเป็นสีเหลือง
  • ในนานๆ ครั้ง บางคนอาจมีปฏิกิริยาระหว่างการหยอดยาโวริโคนาโซล แจ้งให้แพทย์ทราบในทันที หากคุณมีอาการหน้าแดง เป็นไข้ เหงื่อออก หัวใจเต้นเร็ว แน่นหน้าอก หายใจไม่อิ่ม หมดสติ ท้องไส้ปั่นป่วน คัน หรือผดผื่นระหว่างกำลังหยอดยา

ไม่ใช่ทุกคนจะเจอกับผลข้างเคียงเหล่านี้ และอาจจะมีอาการอย่างอื่นนอกเหนือจากที่กล่าวมาข้างต้น ถ้าคุณมีข้อสงสัยใดๆ เกี่ยวกับผลข้างเคียง โปรดปรึกษากับแพทย์หรือเภสัชกร

ปฏิกิริยาของยา

ปฏิกิริยากับยาอื่น

ยาโวริโคนาโซลอาจเกิดปฏิกิริยากับยาอื่นที่คุณกำลังใช้อยู่ ซึ่งอาจส่งผลต่อการออกฤทธิ์ของยา หรือเพิ่มความเสี่ยงที่จะเกิดผลข้างเคียง เพื่อป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น คุณควรจะบอกแพทย์หรือเภสัชกรของคุณว่า คุณกำลังใช้ยาอะไรอยู่บ้าง (ทั้งยาตามใบสั่งแพทย์ ยาที่ซื้อได้เอง และสมุนไพรต่างๆ) เพื่อความปลอดภัย โปรดอย่าเริ่ม หยุด หรือเปลี่ยนขนาดยาโดยไม่ได้รับความเห็นชอบจากแพทย์

ปฏิกิริยากับอาหารหรือแอลกอฮอล์

ยาโวริโคนาโซลอาจมีปฏิกิริยากับอาหารหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โดยส่งผลต่อการออกฤทธิ์ของยา หรือเพิ่มความเสี่ยงที่จะเกิดผลข้างเคียง โปรดปรึกษากับแพทย์หรือเภสัชกรก่อนเสมอ

ปฏิกิริยากับอาการโรคอื่น

ยาโวริโคนาโซลอาจส่งผลให้อาการโรคของคุณแย่ลง หรือส่งผลต่อการออกฤทธิ์ของยา โปรดแจ้งให้แพทย์หรือเภสัชกรทราบถึงสภาวะโรคของคุณก่อนใช้ยาเสมอ

ขนาดยา

ข้อมูลในที่นี้ไม่มีเจตนาให้ใช้ทดแทนคำแนะนำทางการแพทย์ ควรปรึกษากับแพทย์หรือเภสัชกรทุกครั้งเพื่อรับทราบข้อมูลเพิ่มเติม

ขนาดยาโวริโคนาโซลสำหรับผู้ใหญ่

ขนาดยาสำหรับผู้ใหญ่เพื่อรักษาการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม

ขนาดยาเริ่มต้น: 6 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำทุกๆ 12 ชั่วโมงเป็นจำนวน 2 ครั้ง

ขนาดยาปกติ:

ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ:

  • สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม และการติดเชื้อราที่รุนแรงเนื่องจากเชื้อราสายพันธุ์ฟูซาเรี่ยม (Fusarium species) และเชื้อราเซโดสปอเรียมเอไพโอสเปอร์มัม (Scedosporium apiospermum): 4 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำทุกๆ 12 ชั่วโมง

รับประทาน:

  • น้ำหนักน้อยกว่า 40 กก.: 100 กก. รับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง
  • น้ำหนัก 40 กก. ขึ้นไป: 200 กก. รับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง

ระยะเวลาในการรักษา:

  • การติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม: ในการทดลองทางการแพทย์ ค่าเฉลี่ยระยะเวลาการรักษาสำหรับการรักษาด้วยการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำอยู่ที่10 วัน (ช่วง 2 ถึง 85 วัน) และการรักษาด้วยการรับประทานยาอยู่ที่ 76 วัน (ช่วง 2 ถึง 232 วัน)
  • แนวทางจากสมาคมโรคติดเชื้อแห่งสหรัฐอเมริกา (IDSA) สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม: อย่างน้อย 6 ถึง 12 สัปดาห์ สำหรับผู้ป่วยที่มีการกดภูมิคุ้มกัน (immunosuppressed patients) ตลอดช่วงการกดภูมิคุ้มกัน และจนกว่าแผลจะหาย
  • การติดเชื้อแคนดิดาแบบลุกลามในผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำและการติดเชื้อแคนดิดาที่เนื้อเยื่อระดับลึกอื่นๆ: อย่างน้อย 14 วัรหลังจากอาการหายไปหรือหลังจากผลการเพาะเชื้อเป็นบวกครั้งล่าสุด แล้วแต่ว่าอย่างใดจะนานกว่ากัน

ขนาดยาสำหรับผู้ใหญ่เพื่อรักษาการติดเชื้อแคนดิดาแบบลุกลาม 

ขนาดยาเริ่มต้น: 6 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำทุกๆ 12 ชั่วโมงเป็นจำนวน 2 ครั้ง

ขนาดยาปกติ:

ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ:

  • การติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม และการติดเชื้อราที่รุนแรง เนื่องจากเชื้อราสายพันธุ์ฟูซาเรี่ยม (Fusarium species) และเชื้อราเซโดสปอเรียมเอไพโอสเปอร์มัม (Scedosporium apiospermum): 4 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำทุกๆ 12 ชั่วโมง

รับประทาน:

  • น้ำหนักน้อยกว่า 40 กก.: 100 กก. รับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง
  • น้ำหนัก 40 กก. ขึ้นไป: 200 กก. รับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง

ระยะเวลาในการรักษา:

  • การติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม: ในการทดลองทางการแพทย์ ค่าเฉลี่ยระยะเวลาการรักษาสำหรับการรักษาด้วยการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำอยู่ที่10 วัน (ช่วง 2 ถึง 85 วัน) และการรักษาด้วยการรับประทานยาอยู่ที่ 76 วัน (ช่วง 2 ถึง 232 วัน)
  • แนวทางจากสมาคมโรคติดเชื้อแห่งสหรัฐอเมริกา (IDSA) สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม: อย่างน้อย 6 ถึง 12 สัปดาห์ สำหรับผู้ป่วยที่มีการกดภูมิคุ้มกัน (immunosuppressed patients) ตลอดช่วงการกดภูมิคุ้มกัน และจนกว่าแผลจะหาย
  • การติดเชื้อแคนดิดาแบบลุกลามในผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำและการติดเชื้อแคนดิดาที่เนื้อเยื่อระดับลึกอื่นๆ: อย่างน้อย 14 วัรหลังจากอาการหายไปหรือหลังจากผลการเพาะเชื้อเป็นบวกครั้งล่าสุด แล้วแต่ว่าอย่างใดจะนานกว่ากัน

ขนาดยาสำหรับผู้ใหญ่เพื่อรักษาโรคปอดบวมจากเชื้อรา 

ขนาดยาเริ่มต้น: 6 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำทุกๆ 12 ชั่วโมงเป็นจำนวน 2 ครั้ง

ขนาดยาปกติ:

ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ:

  • สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม และการติดเชื้อราที่รุนแรงเนื่องจากเชื้อราสายพันธุ์ฟูซาเรี่ยม (Fusarium species) และเชื้อราเซโดสปอเรียมเอไพโอสเปอร์มัม (Scedosporium apiospermum): 4 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำทุกๆ 12 ชั่วโมง

รับประทาน:

  • น้ำหนักน้อยกว่า 40 กก.: 100 กก. รับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง
  • น้ำหนัก 40 กก. ขึ้นไป: 200 กก. รับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง

ระยะเวลาในการรักษา:

  • การติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม: ในการทดลองทางการแพทย์ ค่าเฉลี่ยระยะเวลาการรักษาสำหรับการรักษาด้วยการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำอยู่ที่10 วัน (ช่วง 2 ถึง 85 วัน) และการรักษาด้วยการรับประทานยาอยู่ที่ 76 วัน (ช่วง 2 ถึง 232 วัน)
  • แนวทางจากสมาคมโรคติดเชื้อแห่งสหรัฐอเมริกา (IDSA) สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม: อย่างน้อย 6 ถึง 12 สัปดาห์ สำหรับผู้ป่วยที่มีการกดภูมิคุ้มกัน (immunosuppressed patients) ตลอดช่วงการกดภูมิคุ้มกัน และจนกว่าแผลจะหาย
  • การติดเชื้อแคนดิดาแบบลุกลามในผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำและการติดเชื้อแคนดิดาที่เนื้อเยื่อระดับลึกอื่นๆ: อย่างน้อย 14 วัรหลังจากอาการหายไปหรือหลังจากผลการเพาะเชื้อเป็นบวกครั้งล่าสุด แล้วแต่ว่าอย่างใดจะนานกว่ากัน

ขนาดยาสำหรับผู้ใหญ่เพื่อรักษาโรคซูโดอะเลสเชอริโอซิส (Pseudo allescheriosis)

ขนาดยาเริ่มต้น: 6 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำทุกๆ 12 ชั่วโมงเป็นจำนวน 2 ครั้ง

ขนาดยาปกติ:

ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ:

  • สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลามและการติดเชื้อราที่รุนแรง เนื่องจากเชื้อราสายพันธุ์ฟูซาเรี่ยม (Fusarium species) และเชื้อราเซโดสปอเรียมเอไพโอสเปอร์มัม (Scedosporium apiospermum): 4 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำทุกๆ 12 ชั่วโมง

รับประทาน:

  • น้ำหนักน้อยกว่า 40 กก.: 100 กก. รับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง
  • น้ำหนัก 40 กก. ขึ้นไป: 200 กก. รับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง

ระยะเวลาในการรักษา:

  • การติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลา: ในการทดลองทางการแพทย์ ค่าเฉลี่ยระยะเวลาการรักษาสำหรับการรักษาด้วยการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำอยู่ที่10 วัน (ช่วง 2 ถึง 85 วัน) และการรักษาด้วยการรับประทานยาอยู่ที่ 76 วัน (ช่วง 2 ถึง 232 วัน)
  • แนวทางจากสมาคมโรคติดเชื้อแห่งสหรัฐอเมริกา (IDSA) สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลา: อย่างน้อย 6 ถึง 12 สัปดาห์ สำหรับผู้ป่วยที่มีการกดภูมิคุ้มกัน (immunosuppressed patients) ตลอดช่วงการกดภูมิคุ้มกัน และจนกว่าแผลจะหาย
  • การติดเชื้อแคนดิดาแบบลุกลามในผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำและการติดเชื้อแคนดิดาที่เนื้อเยื่อระดับลึกอื่นๆ: อย่างน้อย 14 วัรหลังจากอาการหายไปหรือหลังจากผลการเพาะเชื้อเป็นบวกครั้งล่าสุด แล้วแต่ว่าอย่างใดจะนานกว่ากัน

ขนาดยาสำหรับผู้ใหญ่เพื่อรักษาการติดเชื้อราทั่วร่างกาย 

ขนาดยาเริ่มต้น: 6 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำทุกๆ 12 ชั่วโมงเป็นจำนวน 2 ครั้ง

ขนาดยาปกติ:

ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ:

  • สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลามและการติดเชื้อราที่รุนแรงเนื่องจากเชื้อราสายพันธุ์ฟูซาเรี่ยม (Fusarium species) และเชื้อราเซโดสปอเรียมเอไพโอสเปอร์มัม (Scedosporium apiospermum): 4 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำทุกๆ 12 ชั่วโมง

รับประทาน:

  • น้ำหนักน้อยกว่า 40 กก.: 100 กก. รับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง
  • น้ำหนัก 40 กก. ขึ้นไป: 200 กก. รับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง

ระยะเวลาในการรักษา:

  • การติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลา: ในการทดลองทางการแพทย์ ค่าเฉลี่ยระยะเวลาการรักษาสำหรับการรักษาด้วยการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำอยู่ที่10 วัน (ช่วง 2 ถึง 85 วัน) และการรักษาด้วยการรับประทานยาอยู่ที่ 76 วัน (ช่วง 2 ถึง 232 วัน)
  • แนวทางจากสมาคมโรคติดเชื้อแห่งสหรัฐอเมริกา (IDSA) สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลา: อย่างน้อย 6 ถึง 12 สัปดาห์ สำหรับผู้ป่วยที่มีการกดภูมิคุ้มกัน (immunosuppressed patients) ตลอดช่วงการกดภูมิคุ้มกัน และจนกว่าแผลจะหาย
  • การติดเชื้อแคนดิดาแบบลุกลามในผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำและการติดเชื้อแคนดิดาที่เนื้อเยื่อระดับลึกอื่นๆ: อย่างน้อย 14 วัรหลังจากอาการหายไปหรือหลังจากผลการเพาะเชื้อเป็นบวกครั้งล่าสุด แล้วแต่ว่าอย่างใดจะนานกว่ากัน

ขนาดยาสำหรับผู้ใหญ่เพื่อรักษาการติดเชื้อราที่ผิวหนัง 

ขนาดยาเริ่มต้น: 6 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำทุกๆ 12 ชั่วโมงเป็นจำนวน 2 ครั้ง

ขนาดยาปกติ:

ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ:

  • สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลามและการติดเชื้อราที่รุนแรงเนื่องจากเชื้อราสายพันธุ์ฟูซาเรี่ยม (Fusarium species) และเชื้อราเซโดสปอเรียมเอไพโอสเปอร์มัม (Scedosporium apiospermum): 4 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำทุกๆ 12 ชั่วโมง

รับประทาน:

  • น้ำหนักน้อยกว่า 40 กก.: 100 กก. รับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง
  • น้ำหนัก 40 กก. ขึ้นไป: 200 กก. รับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง

ระยะเวลาในการรักษา:

  • การติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม: ในการทดลองทางการแพทย์ ค่าเฉลี่ยระยะเวลาการรักษาสำหรับการรักษาด้วยการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำอยู่ที่10 วัน (ช่วง 2 ถึง 85 วัน) และการรักษาด้วยการรับประทานยาอยู่ที่ 76 วัน (ช่วง 2 ถึง 232 วัน)
  • แนวทางจากสมาคมโรคติดเชื้อแห่งสหรัฐอเมริกา (IDSA) สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม: อย่างน้อย 6 ถึง 12 สัปดาห์ สำหรับผู้ป่วยที่มีการกดภูมิคุ้มกัน (immunosuppressed patients) ตลอดช่วงการกดภูมิคุ้มกัน และจนกว่าแผลจะหาย
  • การติดเชื้อแคนดิดาแบบลุกลามในผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำและการติดเชื้อแคนดิดาที่เนื้อเยื่อระดับลึกอื่นๆ: อย่างน้อย 14 วัรหลังจากอาการหายไปหรือหลังจากผลการเพาะเชื้อเป็นบวกครั้งล่าสุด แล้วแต่ว่าอย่างใดจะนานกว่ากัน

ขนาดยาสำหรับผู้ใหญ่เพื่อรักษาเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อรา 

ขนาดยาเริ่มต้น: 6 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำทุกๆ 12 ชั่วโมงเป็นจำนวน 2 ครั้ง

ขนาดยาปกติ:

ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ:

  • สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลามและการติดเชื้อราที่รุนแรงเนื่องจากเชื้อราสายพันธุ์ฟูซาเรี่ยม (Fusarium species) และเชื้อราเซโดสปอเรียมเอไพโอสเปอร์มัม (Scedosporium apiospermum): 4 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำทุกๆ 12 ชั่วโมง

รับประทาน:

  • น้ำหนักน้อยกว่า 40 กก.: 100 กก. รับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง
  • น้ำหนัก 40 กก. ขึ้นไป: 200 กก. รับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง

ระยะเวลาในการรักษา:

  • การติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม: ในการทดลองทางการแพทย์ ค่าเฉลี่ยระยะเวลาการรักษาสำหรับการรักษาด้วยการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำอยู่ที่10 วัน (ช่วง 2 ถึง 85 วัน) และการรักษาด้วยการรับประทานยาอยู่ที่ 76 วัน (ช่วง 2 ถึง 232 วัน)
  • แนวทางจากสมาคมโรคติดเชื้อแห่งสหรัฐอเมริกา (IDSA) สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลา: อย่างน้อย 6 ถึง 12 สัปดาห์ สำหรับผู้ป่วยที่มีการกดภูมิคุ้มกัน (immunosuppressed patients) ตลอดช่วงการกดภูมิคุ้มกัน และจนกว่าแผลจะหาย
  • การติดเชื้อแคนดิดาแบบลุกลามในผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำและการติดเชื้อแคนดิดาที่เนื้อเยื่อระดับลึกอื่นๆ: อย่างน้อย 14 วัรหลังจากอาการหายไปหรือหลังจากผลการเพาะเชื้อเป็นบวกครั้งล่าสุด แล้วแต่ว่าอย่างใดจะนานกว่ากัน

ขนาดยาสำหรับผู้ใหญ่เพื่อรักษาโรคฟูซาริโอซิส (Fusariosis)

ขนาดยาเริ่มต้น: 6 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำทุกๆ 12 ชั่วโมงเป็นจำนวน 2 ครั้ง

ขนาดยาปกติ:

ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ:

  • สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลามและการติดเชื้อราที่รุนแรงเนื่องจากเชื้อราสายพันธุ์ฟูซาเรี่ยม (Fusarium species) และเชื้อราเซโดสปอเรียมเอไพโอสเปอร์มัม (Scedosporium apiospermum): 4 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำทุกๆ 12 ชั่วโมง

รับประทาน:

  • น้ำหนักน้อยกว่า 40 กก.: 100 กก. รับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง
  • น้ำหนัก 40 กก. ขึ้นไป: 200 กก. รับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง

ระยะเวลาในการรักษา:

  • การติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม: ในการทดลองทางการแพทย์ ค่าเฉลี่ยระยะเวลาการรักษาสำหรับการรักษาด้วยการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำอยู่ที่10 วัน (ช่วง 2 ถึง 85 วัน) และการรักษาด้วยการรับประทานยาอยู่ที่ 76 วัน (ช่วง 2 ถึง 232 วัน)
  • แนวทางจากสมาคมโรคติดเชื้อแห่งสหรัฐอเมริกา (IDSA) สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม: อย่างน้อย 6 ถึง 12 สัปดาห์ สำหรับผู้ป่วยที่มีการกดภูมิคุ้มกัน (immunosuppressed patients) ตลอดช่วงการกดภูมิคุ้มกัน และจนกว่าแผลจะหาย
  • การติดเชื้อแคนดิดาแบบลุกลามในผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำและการติดเชื้อแคนดิดาที่เนื้อเยื่อระดับลึกอื่นๆ: อย่างน้อย 14 วัรหลังจากอาการหายไปหรือหลังจากผลการเพาะเชื้อเป็นบวกครั้งล่าสุด แล้วแต่ว่าอย่างใดจะนานกว่ากัน

ขนาดยาโวริโคนาโซลสำหรับเด็ก

ขนาดยาสำหรับเด็กเพื่อรักษาการติดเชื้อแคนดิดาแบบลุกลาม 

อายุ 2 ถึง 11 ปี:

  • คำแนะนำจากสถาบันกุมารเวชศาสตร์แห่งอเมริกา (American Academy of Pediatrics): 9 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำหรือรับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง
  • ขนาดยาสูงสุด: 350 มก./ครั้ง
  • จากสมาคมโรคติดเชื้อแห่งสหรัฐอเมริกา (IDSA) สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม: 5 ถึง 7 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ 12 ชั่วโมง

อายุ 12 ปีขึ้นไป:

  • ขนาดยาเริ่มต้น: 6 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำทุกๆ 12 ชั่วโมงเป็นจำนวน 2 ครั้ง
  • ขนาดยาปกติ: ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ:สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลามและการติดเชื้อราที่รุนแรงเนื่องจากเชื้อราสายพันธุ์ฟูซาเรี่ยมและเชื้อราเซโดสปอเรียมเอไพโอสเปอร์มัม: 4 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำทุกๆ 12 ชั่วโมง

รับประทาน:

  • น้ำหนักน้อยกว่า 40 กก.: 100 กก. รับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง
  • น้ำหนัก 40 กก. ขึ้นไป: 200 กก. รับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง

ระยะเวลาในการรักษา:

  • การติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม: ในการทดลองทางการแพทย์ ค่าเฉลี่ยระยะเวลาการรักษาสำหรับการรักษาด้วยการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำอยู่ที่10 วัน (ช่วง 2 ถึง 85 วัน) และการรักษาด้วยการรับประทานยาอยู่ที่ 76 วัน (ช่วง 2 ถึง 232 วัน)
  • แนวทางจากสมาคมโรคติดเชื้อแห่งสหรัฐอเมริกา (IDSA) สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม: อย่างน้อย 6 ถึง 12 สัปดาห์ สำหรับผู้ป่วยที่มีการกดภูมิคุ้มกัน (immunosuppressed patients) ตลอดช่วงการกดภูมิคุ้มกัน และจนกว่าแผลจะหาย
  • การติดเชื้อแคนดิดาแบบลุกลามในผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำและการติดเชื้อแคนดิดาที่เนื้อเยื่อระดับลึกอื่นๆ: อย่างน้อย 14 วัรหลังจากอาการหายไปหรือหลังจากผลการเพาะเชื้อเป็นบวกครั้งล่าสุด แล้วแต่ว่าอย่างใดจะนานกว่ากัน

ขนาดยาสำหรับเด็กเพื่อรักษาโรคปอดบวมจากเชื้อรา 

อายุ 2 ถึง 11 ปี:

  • คำแนะนำจากสถาบันกุมารเวชศาสตร์แห่งอเมริกา (American Academy of Pediatrics): 9 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำหรือรับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง
  • ขนาดยาสูงสุด: 350 มก./ครั้ง
  • จากสมาคมโรคติดเชื้อแห่งสหรัฐอเมริกา (IDSA) สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม: 5 ถึง 7 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ 12 ชั่วโมง

อายุ 12 ปีขึ้นไป:

  • ขนาดยาเริ่มต้น: 6 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำทุกๆ 12 ชั่วโมงเป็นจำนวน 2 ครั้ง
  • ขนาดยาปกติ: ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ:สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลามและการติดเชื้อราที่รุนแรงเนื่องจากเชื้อราสายพันธุ์ฟูซาเรี่ยมและเชื้อราเซโดสปอเรียมเอไพโอสเปอร์มัม: 4 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำทุกๆ 12 ชั่วโมง

รับประทาน:

  • น้ำหนักน้อยกว่า 40 กก.: 100 กก. รับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง
  • น้ำหนัก 40 กก. ขึ้นไป: 200 กก. รับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง

ระยะเวลาในการรักษา:

  • การติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม: ในการทดลองทางการแพทย์ ค่าเฉลี่ยระยะเวลาการรักษาสำหรับการรักษาด้วยการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำอยู่ที่10 วัน (ช่วง 2 ถึง 85 วัน) และการรักษาด้วยการรับประทานยาอยู่ที่ 76 วัน (ช่วง 2 ถึง 232 วัน)
  • แนวทางจากสมาคมโรคติดเชื้อแห่งสหรัฐอเมริกา (IDSA) สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม: อย่างน้อย 6 ถึง 12 สัปดาห์ สำหรับผู้ป่วยที่มีการกดภูมิคุ้มกัน (immunosuppressed patients) ตลอดช่วงการกดภูมิคุ้มกัน และจนกว่าแผลจะหาย
  • การติดเชื้อแคนดิดาแบบลุกลามในผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำและการติดเชื้อแคนดิดาที่เนื้อเยื่อระดับลึกอื่นๆ: อย่างน้อย 14 วัรหลังจากอาการหายไปหรือหลังจากผลการเพาะเชื้อเป็นบวกครั้งล่าสุด แล้วแต่ว่าอย่างใดจะนานกว่ากัน

ขนาดยาสำหรับเด็กเพื่อรักษาโรคปอดบวมจากเชื้อรา 

อายุ 2 ถึง 11 ปี:

  • คำแนะนำจากสถาบันกุมารเวชศาสตร์แห่งอเมริกา (American Academy of Pediatrics): 9 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำหรือรับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง
  • ขนาดยาสูงสุด: 350 มก./ครั้ง
  • จากสมาคมโรคติดเชื้อแห่งสหรัฐอเมริกา (IDSA) สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม: 5 ถึง 7 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ 12 ชั่วโมง

อายุ 12 ปีขึ้นไป:

  • ขนาดยาเริ่มต้น: 6 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำทุกๆ 12 ชั่วโมงเป็นจำนวน 2 ครั้ง
  • ขนาดยาปกติ: ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ:สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลามและการติดเชื้อราที่รุนแรงเนื่องจากเชื้อราสายพันธุ์ฟูซาเรี่ยมและเชื้อราเซโดสปอเรียมเอไพโอสเปอร์มัม: 4 มก./กก. ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำทุกๆ 12 ชั่วโมง

รับประทาน:

  • น้ำหนักน้อยกว่า 40 กก.: 100 กก. รับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง
  • น้ำหนัก 40 กก. ขึ้นไป: 200 กก. รับประทานทุกๆ 12 ชั่วโมง

ระยะเวลาในการรักษา:

  • การติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม: ในการทดลองทางการแพทย์ ค่าเฉลี่ยระยะเวลาการรักษาสำหรับการรักษาด้วยการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำอยู่ที่10 วัน (ช่วง 2 ถึง 85 วัน) และการรักษาด้วยการรับประทานยาอยู่ที่ 76 วัน (ช่วง 2 ถึง 232 วัน)
  • แนวทางจากสมาคมโรคติดเชื้อแห่งสหรัฐอเมริกา (IDSA) สำหรับการติดเชื้อแอสเปอร์จิลลัสแบบลุกลาม: อย่างน้อย 6 ถึง 12 สัปดาห์ สำหรับผู้ป่วยที่มีการกดภูมิคุ้มกัน (immunosuppressed patients) ตลอดช่วงการกดภูมิคุ้มกัน และจนกว่าแผลจะหาย
  • การติดเชื้อแคนดิดาแบบลุกลามในผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำและการติดเชื้อแคนดิดาที่เนื้อเยื่อระดับลึกอื่นๆ: อย่างน้อย 14 วันหลังจากอาการหายไปหรือหลังจากผลการเพาะเชื้อเป็นบวกครั้งล่าสุด แล้วแต่ว่าอย่างใดจะนานกว่ากัน

รูปแบบของยา

ความแรงและรูปแบบของยามีดังนี้

  • ยาผง
  • ยาเม็ด
  • ยาสำหรับฉีด

กรณีฉุกเฉินหรือใช้ยาเกินขนาด

หากเกิดเหตุฉุกเฉินหรือใช้ยาเกินขนาด ควรแจ้งเหตุฉุกเฉินหรือนำส่งห้องฉุกเฉินใกล้บ้านโดยทันที

กรณีลืมใช้ยา

หากคุณลืมใช้ยาควรรีบใช้ในทันทีที่นึกได้ หรือถ้าหากใกล้ถึงเวลาใช้ยาครั้งต่อไป ให้ข้ามรอบไปใช้ยาตามตารางปกติได้เลย ไม่ควรเพิ่มปริมาณยา

Hello Health Group ไม่ได้ให้คำแนะนำทางการแพทย์ การวินิจฉัยโรคหรือการรักษาโรคแต่อย่างใด

หมายเหตุ

Hello Health Group ไม่ได้ให้คำแนะนำด้านการแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาโรคแต่อย่างใด

ตรวจสอบข้อมูลทางการแพทย์โดย

เภสัชกรอาชานนท์ สมศักดิ์

ยาและอาหารเสริม · Hello Health Group


เขียนโดย พลอย วงษ์วิไล · แก้ไขล่าสุด 11/05/2020

advertisement iconโฆษณา

คุณได้รับประโยชน์จากบทความนี้หรือไม่?

advertisement iconโฆษณา
advertisement iconโฆษณา