กรามค้าง เป็นอาการที่เกิดจากความผิดปกติของขากรรไกร ทำให้มีอาการอ้าปากได้น้อยกว่าปกติ อ้าปากแล้วหุบไม่ได้ หรือมีอาการปวดร่วมด้วย ซึ่งส่งผลเสียต่อการใช้ชีวิต และหากไม่ได้รับการรักษาอาจทำให้เจ็บปวดเมื่อเคี้ยวอาหารหรือพูดได้
คุณต้องการออกจากระบบใช่หรือไม่
กรามค้าง เป็นอาการที่เกิดจากความผิดปกติของขากรรไกร ทำให้มีอาการอ้าปากได้น้อยกว่าปกติ อ้าปากแล้วหุบไม่ได้ หรือมีอาการปวดร่วมด้วย ซึ่งส่งผลเสียต่อการใช้ชีวิต และหากไม่ได้รับการรักษาอาจทำให้เจ็บปวดเมื่อเคี้ยวอาหารหรือพูดได้
โดยปกติข้อต่อขากรรไกรจะเคลื่อนที่แบบบานพับร่วมกับแบบเลื่อน โดยมีกระดูกอ่อนห่อหุ้มกระดูกส่วนที่สัมผัสกัน และมีหมอนรองกระดูกมารองรับแรงกระแทก ทำให้ข้อต่อขากรรไกรสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างลื่นไหล ซึ่ง กรามค้าง อาจเกิดจากสาเหตุเหล่านี้
อาการกรามค้างที่เกิดจากภาวะข้อต่อขากรรไกรผิดปกติ มีดังนี้
ปัจจัยที่อาจเพิ่มความเสี่ยงความผิดปกติของขากรรไกรและอาจนำไปสู่ อาการกรามค้าง มีดังนี้
อาการกรามค้างอาจหายได้เองโดยไม่ต้องรักษา แต่คุณหมออาจใช้ยาร่วมกับการรักษาอื่น ๆ เพื่อช่วยบรรเทาอาการ ดังนี้
หากการรักษาเพื่อประคับประคองอาการในเบื้องต้นไม่ได้ผล หรือผู้ป่วยมีอาการรุนแรงขึ้น คุณหมออาจพิจารณาใช้การรักษาทางเลือกและการผ่าตัด เช่น
ผู้ป่วยสามารถดูแลตัวเองเพื่อรักษาอาการเบื้องต้นได้ ดังนี้
Hello Health Group ไม่ได้ให้คำแนะนำด้านการแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาโรคแต่อย่างใด
Temporomandibular Joint Disorders (TMD, TMJ). https://www.webmd.com/oral-health/guide/temporomandibular-disorders-tmd. Accessed September 6, 2021
TMJ disorders. https://www.mayoclinic.org/diseases-conditions/tmj/diagnosis-treatment/drc-20350945. Accessed September 6, 2021
TMJ disorders. https://www.mayoclinic.org/diseases-conditions/tmj/symptoms-causes/syc-20350941. Accessed September 6, 2021
ขากรรไกรค้างทำอย่างไรดี ?. https://dt.mahidol.ac.th/th/%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87/. Accessed September 6, 2021
ภาวะความผิดปกติของข้อต่อขากรรไกร (Temporomandibular joint Disorder). https://dt.mahidol.ac.th/th/temporomandibular-joint-disorder/. Accessed September 6, 2021
Original Content By SiPH. https://www.siphhospital.com/th/news/article/share/983/temporomandibular-disorders. Accessed September 6, 2021
ความคิดเห็นทั้งหมด
แบ่งปันความคิดเห็นของคุณ
ร่วมแสดงความคิดเห็นของคุณกับ Hello คุณหมอ
สมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ เพื่อร่วมการพูดคุย