เพลียแดด (Heat exhaustion) เป็นอาการที่เกิดขึ้นเนื่องจากอากาศร้อน ร่วมกับความชื้นสูง และการออกกำลังกายอย่างหนัก ทำให้ความร้อนในร่างกายสูงมากเกินไป จนเกิดอาการต่าง ๆ
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดย ทีม Hello คุณหมอ
เพลียแดด (Heat exhaustion) เป็นอาการที่เกิดขึ้นเนื่องจากอากาศร้อน ร่วมกับความชื้นสูง และการออกกำลังกายอย่างหนัก ทำให้ความร้อนในร่างกายสูงมากเกินไป จนเกิดอาการต่าง ๆ
เพลียแดด (Heat exhaustion) เป็นอาการที่เกิดขึ้นเนื่องจากอากาศร้อน ร่วมกับความชื้นสูง และการออกกำลังกายอย่างหนัก ทำให้ความร้อนในร่างกายสูงมากเกิน และเกิดอาการต่าง ๆ เช่น หัวใจเต้นเร็ว เหงื่อออกมาก หรือตะคริว และมักจะเกิดขึ้นพร้อมกับภาวะขาดน้ำ (Dehydration)
โดยปกติภาวะเพลียแดดนี้จะไม่มีอาการที่เป็นอันตรายอะไร และสามารถหายได้เพียงแค่นั่งพักในที่ร่มประมาณ 30 นาที แต่หากปล่อยทิ้งไว้ไม่ทำการรักษา ก็อาจจะนำไปสู่ภาวะเป็นลมแดด หรือฮีทสโตรก (Heatstroke) ซึ่งอาจเป็นอันตราย และจำเป็นต้องรับการรักษาฉุกเฉินได้
ภาวะเพลียแดดพบได้ค่อนข้างบ่อยในประเทศไทย เนื่องจากประเทศไทยมีอาการร้อน และมีความชื้นสูง ภาวะนี้สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน และอาจจะพบได้บ่อยกับผู้ที่ต้องออกกำลังกายกลางแจ้ง เช่น นักกีฬา หรือนักเรียนที่ต้องทำกิจกรรมกลางแจ้ง เป็นต้น
สัญญาณและอาการที่พบได้บ่อยของภาวะเพลียแดด มีดังต่อไปนี้
หากคุณมีสัญญาณหรืออาการที่ระบุข้างต้น หรือสงสัยว่าตัวเองอาจจะมีภาวะเพลียแดด ควรจะหยุดพักกิจกรรมที่กำลังทำอยู่ หลบไปพักในที่ร่ม หรือที่ที่เย็นและมีอากาศถ่ายเท และดื่มน้ำหรือสปอร์ตดริงค์ เพื่อชดเชยน้ำและแร่ธาตุที่เสียไปกับเหงื่อ
หลังจากพักเป็นเวลานานกว่า 1 ชั่วโมง หากอาการของภาวะเพลียแดดยังคงไม่หายไป มีอาการรุนแรงขึ้น หรือมีสัญญาณของภาวะฮีทสโตรก เช่น
ควรรีบติดต่อแพทย์เพื่อรับการรักษาฉุกเฉินในทันที
หากมีคำถามเกี่ยวกับอาการของโรคโปรดปรึกษาแพทย์
ร่างกายของแต่ละบุคคลมีการตอบสนองแตกต่างกัน ทางที่ดีที่สุดควรปรึกษาแพทย์ เกี่ยวกับวิธีรักษาที่ดีที่สุดตามสถานการณ์ของคุณ
สาเหตุหลัก ๆ ที่ส่งผลให้เกิดปัญหาภาวะเพลียแดดนั้น เป็นเพราะอุณหภูมิที่สูงเนื่องจากอากาศร้อน ตามปกติแล้ว เมื่อมีอากาศร้อน ร่างกายของเราจะสามารถระบายความร้อนของร่างกายออกไปด้วยผ่านทางเหงื่อ แต่ในสภาวะบางอย่าง เช่น
ก็อาจทำให้ร่างกายไม่สามารถระบายความร้อนผ่านทางเหงื่อได้อย่างเต็มที่ ส่งผลให้อุณหภูมิของร่างกายสูงเกินไป และเกิดเป็นภาวะเพลียแดดได้ในที่สุด
โปรดปรึกษาแพทย์สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม
ปัจจัยที่อาจเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดภาวะเพลียแดด มีดังต่อไปนี้
ข้อมูลที่นำเสนอไม่สามารถใช้แทนข้อแนะนำทางการแพทย์ได้ โปรดปรึกษาแพทย์สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม
หากคุณเข้ารับการรักษาเนื่องจากสงสัยว่าอาจจะเป็นภาวะเพลียแดด แพทย์ก็อาจจะต้องทำการวินิจฉัยด้วยการทดสอบต่าง ๆ เพื่อยืนยันให้แน่ชัดว่าเป็นภาวะเพลียแดดจริง ๆ โดยอาจต้องใช้การทดสอบดังต่อไปนี้
การรักษาภาวะเพลียแดด มักจะใช้วิธีดังต่อไปนี้
นอกจากนี้ แพทย์ก็อาจจะใช้การรักษาสำหรับภาวะฮีทสโตรกร่วมด้วย เช่น
การเปลี่ยนพฤติกรรมหรือการเยียวยาตนเอง ที่อาจช่วยรับมือภาวะเพลียแดดด้วยตนเอง มีดังนี้
หากมีคำถาม โปรดปรึกษาแพทย์เพื่อให้เข้าใจวิธีการรักษาที่ดีที่สุดสำหรับคุณ
หมายเหตุ
Hello Health Group ไม่ได้ให้คำแนะนำด้านการแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาโรคแต่อย่างใด
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดย
ทีม Hello คุณหมอ
ความคิดเห็นทั้งหมด
แบ่งปันความคิดเห็นของคุณ
ร่วมแสดงความคิดเห็นของคุณกับ Hello คุณหมอ
สมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ เพื่อร่วมการพูดคุย