หูน้ำหนวก หรือ โรคหูชั้นกลางอักเสบ เป็นภาวะที่เกิดการอักเสบภายในหูชั้นกลาง ส่งผลให้เยื่อแก้วหูบวม หูอื้อ ปวดหู และมีน้ำไหลออกจากหู หากปล่อยไว้นาน และไม่ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม อาจทำให้น้ำหนองไหลออกจากหูมากขึ้น มีกลิ่นเหม็น และแก้วหูเสียหายได้
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดย เนตรนภา ปะวะคัง
หูน้ำหนวก หรือ โรคหูชั้นกลางอักเสบ เป็นภาวะที่เกิดการอักเสบภายในหูชั้นกลาง ส่งผลให้เยื่อแก้วหูบวม หูอื้อ ปวดหู และมีน้ำไหลออกจากหู หากปล่อยไว้นาน และไม่ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม อาจทำให้น้ำหนองไหลออกจากหูมากขึ้น มีกลิ่นเหม็น และแก้วหูเสียหายได้
หูน้ำหนวก หรือ โรคหูชั้นกลางอักเสบ คือ การติดเชื้อไวรัส หรือเชื้อแบคทีเรียที่หลังแก้วหู จนส่งผลให้หูชั้นกลางอักเสบ สามารถเกิดขึ้นในหูข้างใดข้างหนึ่ง หรือทั้ง 2 ข้างพร้อมกัน และสามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกเพศทุกวัย แต่อาจพบบ่อยในเด็ก เนื่องจากท่อปรับความดันในหูชั้นกลางของเด็กยังพัฒนาไม่สมบูรณ์
หูน้ำหนวกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
อาการหูน้ำหนวกที่พบบ่อยในเด็ก ได้แก่
อาการหูน้ำหนวกในผู้ใหญ่ ได้แก่
การติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส ที่มาจากไข้หวัด โรคภูมิแพ้ เป็นต้น ในหูชั้นกลาง อาจส่งผลให้ระคายเคือง และหากท่อยูสเตเชียน ซึ่งเป็นท่อที่เชื่อมกับหูชั้นกลาง หลังโพรงจมูก และลำคอ มีส่วนช่วยลดแรงดันระหว่างหูชั้นนอก หูชั้นใน ช่วยระบายสารคัดหลั่งจากหูชั้นกลางออก เกิดภาวะบวม หรืออุดตัน ของเหลวที่สะสมอยู่ในหูชั้นกลางอาจติดเชื้อ และทำให้หูชั้นกลางอักเสบได้
ปัจจัยเสี่ยงที่อาจส่งผลให้เป็นหูน้ำหนวก มีดังนี้
ข้อมูลในที่นี้ไม่มีเจตนาให้ใช้ทดแทนคำแนะนำทางการแพทย์ ควรปรึกษาแพทย์ทุกครั้งเพื่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
การวินิจฉัยหาสาเหตุของการติดเชื้อที่ทำให้หูชั้นกลางอักเสบ คุณหมออาจใช้เครื่องตรวจหูส่องช่องหู เพื่อดูว่าแก้วหูมีหนองหรือไม่ และอาจใช้วิธีการตรวจรูปแบบอื่น ๆ ร่วมด้วย ดังนี้
วิธีรักษาอาการหูน้ำหนวก เช่น
สำหรับเด็กที่เป็นหูน้ำหนวก คุณหมออาจรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ และรักษาตามอาการในเบื้องต้น เนื่องจากเด็กอาจมีอาการแทรกซ้อนอื่น ๆ เช่น มีไข้สูง ปวดหู
การลดความเสี่ยงในการเกิดภาวะหูชั้นกลางติดเชื้อจนทำให้เป็นโรคหูน้ำหนวก ได้แก่
สำหรับทารกแรกเกิด คุณแม่ควรให้กินนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน เพราะนมแม่มีแอนติบอดี ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน
หมายเหตุ
Hello Health Group ไม่ได้ให้คำแนะนำด้านการแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาโรคแต่อย่างใด
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดย
เนตรนภา ปะวะคัง
ความคิดเห็นทั้งหมด
แบ่งปันความคิดเห็นของคุณ
ร่วมแสดงความคิดเห็นของคุณกับ Hello คุณหมอ
สมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ เพื่อร่วมการพูดคุย