backup og meta

ACHOO Syndrome : มองแสงแล้วจาม ทุกที เกิดจากอะไรกันแน่!

อาการจามถือเป็นเรื่องที่ปกติ สามารถเกิดขึ้นได้ตามปกติในชีวิตประจำวัน เพราะจมูกมีความระคายเคือง จึงส่งผลให้จาม แต่จะมีบางคนที่เมื่อ มองแสงแล้วจาม เจอแดดจ้าๆ แล้วจาม แถมจามต่อเนื่องติดต่อกันหลายครั้ง อาการนี้เรียกว่า ACHOO Syndrome หากใครกำลังสงสัยวันนี้ Hello คุณหมอ มีข้อมูลมาให้อ่านกันค่ะ

เมื่อ มองแสงแล้วจาม เกิดขึ้นจากอะไร

การจาม เป็นการตอบสนองตามธรรมชาติของร่างกายที่ช่วยขจัดสิ่งระคายเคืองออกจากจมูก ไม่ว่าจะเป็นในขณะที่เป็นหวัดธรรมดาหรือเป็นภูมิแพ้ แต่บางคนก็จะจามเมื่อมองแสงจ้าๆ และสิ่งกระตุ้นอื่น ๆ เมื่อมองแสงสะท้อนแล้วจามเป็นโรคที่เรารู้จักกันในชื่อ Autosomal dominant Compelling Helio-Ophthalmic Outburst (ACHOO) มันเป็นอาการที่เกิดจากการจามอย่างต่อเนื่องเมื่อเจอแสงจ้าๆ ซึ่งมีความแตกต่างจากการจามปกติ ที่เกิดจากการติดเชื้อหรือการระคายเคือง ซึ่ง ACHOO syndrome จะส่งผลกระทบต่อประชากรประมาณร้อยละ 11 ถึง 35 แต่ก็ยังไม่ได้รับการศึกษาอย่างละเอียด จากการศึกษาของปี 1995 แหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ในวารสาร American Optometric Association กล่าวว่าส่วนใหญ่แล้วผู้ที่มีอาการมองแสงแล้วจาม จะเป็นผู้หญิงมากกว่าและชาวคอเคเชี่ยนมีโอกาสเป็นมากกว่า

พันธุ์กรรมเกี่ยวข้องอย่างไรกับการ มองแสงแล้วจาม

มาหาคำตอบกันว่า มองแสงแล้วจาม เกิดจากอะไร

ความเสี่ยงของการมองแสงแล้วจาม

Hello Health Group ม่ได้ให้คำปรึกษาด้านการแพทย์ การวินิจฉัยโรค และการรักษาโรคแต่อย่างใด

หมายเหตุ

Hello Health Group ไม่ได้ให้คำแนะนำด้านการแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาโรคแต่อย่างใด

Source

  • Why Do I Sneeze in Bright Light (and Other Unusual Stimuli)?

https://www.healthline.com/health/photic-sneeze-reflex

  • Achoo! Sunlight sets off sneeze reflex

https://www.abc.net.au/science/articles/2013/11/26/3896820.htm

  • Why looking at the sun can make you sneeze

https://www.pbs.org/newshour/science/does-the-sun-make-you-sneeze

 

เวอร์ชันปัจจุบัน

11/05/2020

เขียนโดย ชลธิชา จันทร์วิบูลย์

ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดย ทีม Hello คุณหมอ

อัปเดตโดย: Ploylada Prommate


บทความที่เกี่ยวข้อง

แสงแดด ส่งผลกระทบต่อผิวอย่างไร และการป้องกัน

คุณป่วยได้หรือเปล่าถ้ามีใคร ไอจาม ใส่คุณ?


ตรวจสอบข้อมูลความถูกต้อง โดย ทีม Hello คุณหมอ · เขียน โดย ชลธิชา จันทร์วิบูลย์ · แก้ไข 11/05/2020

ad iconโฆษณา

คุณได้รับประโยชน์จากบทความนี้หรือไม่?

ad iconโฆษณา
ad iconโฆษณา