เนโฟรติก ซินโดรม (Nephrotic Syndrome)

ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดย ทีม Hello คุณหมอ


เขียนโดย จินดารัตน์ สิริวิจักษณ์ · แก้ไขล่าสุด 01/03/2021

เนโฟรติก ซินโดรม (Nephrotic Syndrome)

เนโฟรติก ซินโดรม (Nephrotic Syndrome) เป็นลักษณะกลุ่มอาการของโรคไตที่ทำให้ร่างกายขับโปรตีนออกมาในปัสสาวะมากเกินไป โดยภาวะนี้มักส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดอาการบวมน้ำ โดยเฉพาะ บริเวณเท้า ข้อเท้า

คำจำกัดความ

เนโฟรติก ซินโดรม (Nephrotic Syndrome) คืออะไร

กลุ่มอาการเนโฟรติก ซินโดรม (Nephrotic Syndrome) เป็นลักษณะกลุ่มอาการของโรคไตที่ทำให้ร่างกายขับโปรตีนออกมาในปัสสาวะมากเกินไป โดยภาวะนี้มักส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดอาการบวมน้ำ โดยเฉพาะ บริเวณเท้า ข้อเท้า

พบได้บ่อยเพียงใด

ผู้ป่วยที่อยู่ในกลุ่มอาการเนโฟรติก ซินโดรม มักเกิดขึ้นได้กับคนทุกเพศทุกวัย โดยเฉพาะในวัยเด็ก

อาการ

อาการของ เนโฟรติก ซินโดรม (Nephrotic Syndrome)

ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะอาการของโรคเนโฟรติก ซินโดรม มีลักษณะดังต่อไปนี

ควรไปพบหมอเมื่อใด

หากคุณมีสิ่งบ่งชี้หรืออาการใด ๆ ตามที่ระบุข้างต้น หรือมีคำถาม โปรดปรึกษาแพทย์ ร่างกายของแต่ละบุคคลมีการตอบสนองแตกต่างกัน ทางที่ดีที่สุดให้ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับวิธีรักษาที่ดีที่สุดตามสถานการณ์ของคุณ

สาเหตุ

สาเหตุของเนโฟรติก ซินโดรม (Nephrotic Syndrome)

ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเนโฟรติก ซินโดรม ส่วนใหญ่มักมีสาเหตุมาจากโรคที่ส่งผลกระทบต่อโรคไต ดังต่อไปนี้

  • โรคไตจากเบาหวาน โรคเบาหวานอาจเพิ่มความเสี่ยงให้ไตถูกทำลายเลย
  • กรวยไตมีลักษณะเป็นแผล กรวยไตมีลักษณะเป็นแผล อาจเป็นผลมาจากโรคความบกพร่องทางพันธุกรรม หรือผลข้างเคียงจากการใช้ยาบางชนิด
  • โรคลูปัส โรคอักเสบเรื้อรังที่อาจนำไปสู่การทำลายไตอย่างรุนแรง
  • อะไมลอยโดซิส เกิดจากความผิดปกติเมื่อโปรตีน อะไมลอยโดซิ ที่อาจส่งผลต่อการทำลายระบบกรองของไต

ปัจจัยเสี่ยง

ปัจจัยเสี่ยงของเนโฟรติก ซินโดรม (Nephrotic Syndrome)

การวินิจฉัยและการรักษา

ข้อมูลในที่นี้ไม่มีเจตนาให้ใช้ทดแทนคำแนะนำทางการแพทย์ ควรปรึกษาแพทย์ทุกครั้งเพื่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

การวินิจฉัยเนโฟรติก ซินโดรม (Nephrotic Syndrome)

ในเบื้องต้นแพทย์จะทำการวินิจฉัยผํู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเนโฟรติก ซินโดรม ด้วยการสอบถามประวัติและอาการของผู้ป่วย และตรวจปัสสาวะเพื่อหาระดับโปรตีนในน้ำปัสสาวะ

ในผู้ป่วยบางรายแพทย์อาจต้องตรวจชื้นเนื้อไต เพื่อนำตัวอย่างเนื้อเยื่อไปตรวจเพื่อทำการวินิจฉัย

การรักษาเนโฟรติก ซินโดรม

วิธีการรักษาเนโฟรติก ซินโดรม จะขึ้นอยู่กับสาเหตุและอาการของผู้ป่วย โดยแพทย์จะรักษาตามลักษณะอาการ ดังต่อไปนี้

การเปลี่ยนไลฟ์สไตล์และการเยียวยาตัวเอง

การเปลี่ยนไลฟ์สไตล์และการเยียวยาตัวเอง เพื่อป้องกันเนโฟรติก ซินโดรม

การเปลี่ยนไลฟ์สไตล์และการเยียวยาตัวเอง เพื่อป้องกันเนโฟรติก ซินโดรมมีดังต่อไปนี้

Hello Health Group ไม่ได้ให้คำแนะนำด้านการแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาโรคแต่อย่างใด

ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดย

ทีม Hello คุณหมอ


เขียนโดย จินดารัตน์ สิริวิจักษณ์ · แก้ไขล่าสุด 01/03/2021

โฆษณา
โฆษณา
โฆษณา
โฆษณา