backup og meta

ขลิบ ที่ลับ แต่ไม่ใช่เรื่องลับ สำหรับพ่อแม่มือใหม่

ขลิบ เป็นการผ่าตัดเอาหนังหุ้มปลายลึงค์ออกจากองชาตของทารกเพศชาย เนื่องจากมีความเชื่อว่าอาจช่วยให้ผู้ชายทำความสะอาดบริเวณอวัยวะเพศได้มากขึ้น รวมถึงยังอาจช่วยลดความเสี่ยงต่อโรคต่าง ๆ เช่น การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ ส่วนใหญ่แล้วจะทำหลังจากคลอด 2-3 อาทิตย์ แต่สำหรับเด็กทารกบางคนก็อยู่ในระยะเวลา 10 วัน หลังจากขลิบปลายแล้วแผลจะหายเป็นปกติภายใน 1 สัปดาห์

[embed-health-tool-vaccination-tool]

ขลิบ เรื่องพื้นฐานที่ควรรู้

การขลิบมีมาตั้งแต่สมัยอียิปต์โบราณ โดยเชื่อกันว่าจะทำให้ผู้ชายรักษาความสะอาดบริเวณอวัยวะเพศได้มากขึ้น สำหรับการขลิบทางพิธีกรรมศาสนาจะเรียกว่า การเข้าพิธีสุนัต (Khitan) ซึ่งการเข้าพิธีสุนัตในทุกวันนี้ ส่วนใหญ่จะทำเพื่อเหตุผลทางศาสนา หรือวัฒนธรรม ในประเทศสหรัฐอเมริกา ประมาณ 55% ของทารกแรกเกิด จะถูกพาเข้าสุนัตไม่นานหลังคลอด ส่วนเด็กผู้ชายคนอื่น ๆ อาจจะมีการผ่าตัดในภายหลัง

สำหรับการขลิบเป็นเรื่องพื้นฐานที่คุณพ่อคุณแม่มือใหม่ในปัจจุบันจำเป็นจะต้องรู้ อย่างน้อยต้องทำความเข้าใจก่อนว่า การที่จะทำการขลิบปลายนั้น ส่วนใหญ่แล้วจะทำหลังจากคลอด 2-3 อาทิตย์ แต่สำหรับเด็กทารกบางคนก็อยู่ในระยะเวลา 10 วัน ซึ่งวิธีการนั้นก็จะเป็นการตัดเอาหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศของเด็กผู้ชายออกนั่นเอง

วิธีการดูแลรักษาหลังการขลิบ

สาเหตุของการขลิบ

  • เพื่อความสะอาด

  • เพื่อป้องกันมะเร็ง

  • เพื่อป้องกันปัญหาการปัสสาวะ

หมายเหตุ

Hello Health Group ไม่ได้ให้คำแนะนำด้านการแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาโรคแต่อย่างใด

Baby Month 1:Your Newborn Guide. https://www.whattoexpect.com/first-year/month-1. Accessed December 24, 2017

Your Baby Boy’s Circumcision: What to Expect. https://www.webmd.com/parenting/baby/circumcision-what-expect#1. Accessed October 9, 2019

Should my baby boy get circumcised?. https://utswmed.org/medblog/baby-boy-circumcision/. Accessed October 9, 2019

Circumcision (male). https://www.mayoclinic.org/tests-procedures/circumcision/about/pac-20393550. Accessed May 20, 2021.

Circumcision in boys. https://www.nhs.uk/conditions/circumcision-in-boys/. Accessed May 20, 2021.

เวอร์ชันปัจจุบัน

28/02/2023

เขียนโดย กัญญ์วรา ยุทธ์ธนพิริยะ

ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดย พลอย วงษ์วิไล

อัปเดตโดย: พลอย วงษ์วิไล


บทความที่เกี่ยวข้อง

เคล็ดลับในการเลือกผลิตภัณฑ์เพื่อ ดูแลผิวทารก มีอะไรบ้าง

เด็กเป็นไข้ อาการ และวิธีการรับมือ


ตรวจสอบข้อมูลความถูกต้อง โดย ทีม Hello คุณหมอ · เขียน โดย กัญญ์วรา ยุทธ์ธนพิริยะ · แก้ไข 28/02/2023

ad iconโฆษณา

คุณได้รับประโยชน์จากบทความนี้หรือไม่?

ad iconโฆษณา
ad iconโฆษณา