backup og meta

เนโฟรติก ซินโดรม (Nephrotic Syndrome)

เนโฟรติก ซินโดรม (Nephrotic Syndrome)

เนโฟรติก ซินโดรม (Nephrotic Syndrome) เป็นลักษณะกลุ่มอาการของโรคไตที่ทำให้ร่างกายขับโปรตีนออกมาในปัสสาวะมากเกินไป โดยภาวะนี้มักส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดอาการบวมน้ำ โดยเฉพาะ บริเวณเท้า ข้อเท้า 

คำจำกัดความ

เนโฟรติก ซินโดรม (Nephrotic Syndrome) คืออะไร

กลุ่มอาการเนโฟรติก ซินโดรม (Nephrotic Syndrome) เป็นลักษณะกลุ่มอาการของโรคไตที่ทำให้ร่างกายขับโปรตีนออกมาในปัสสาวะมากเกินไป โดยภาวะนี้มักส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดอาการบวมน้ำ โดยเฉพาะ บริเวณเท้า ข้อเท้า 

พบได้บ่อยเพียงใด

ผู้ป่วยที่อยู่ในกลุ่มอาการเนโฟรติก ซินโดรม มักเกิดขึ้นได้กับคนทุกเพศทุกวัย โดยเฉพาะในวัยเด็ก

อาการ

อาการของ เนโฟรติก ซินโดรม (Nephrotic Syndrome)

ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะอาการของโรคเนโฟรติก ซินโดรม มีลักษณะดังต่อไปนี

ควรไปพบหมอเมื่อใด

หากคุณมีสิ่งบ่งชี้หรืออาการใด ๆ ตามที่ระบุข้างต้น หรือมีคำถาม โปรดปรึกษาแพทย์ ร่างกายของแต่ละบุคคลมีการตอบสนองแตกต่างกัน ทางที่ดีที่สุดให้ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับวิธีรักษาที่ดีที่สุดตามสถานการณ์ของคุณ

สาเหตุ

สาเหตุของเนโฟรติก ซินโดรม (Nephrotic Syndrome)

ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเนโฟรติก ซินโดรม ส่วนใหญ่มักมีสาเหตุมาจากโรคที่ส่งผลกระทบต่อโรคไต ดังต่อไปนี้

  • โรคไตจากเบาหวาน โรคเบาหวานอาจเพิ่มความเสี่ยงให้ไตถูกทำลายเลย
  • กรวยไตมีลักษณะเป็นแผล กรวยไตมีลักษณะเป็นแผล อาจเป็นผลมาจากโรคความบกพร่องทางพันธุกรรม หรือผลข้างเคียงจากการใช้ยาบางชนิด
  • โรคลูปัส โรคอักเสบเรื้อรังที่อาจนำไปสู่การทำลายไตอย่างรุนแรง 
  •  อะไมลอยโดซิส เกิดจากความผิดปกติเมื่อโปรตีน อะไมลอยโดซิ ที่อาจส่งผลต่อการทำลายระบบกรองของไต

ปัจจัยเสี่ยง

ปัจจัยเสี่ยงของเนโฟรติก ซินโดรม (Nephrotic Syndrome)

การวินิจฉัยและการรักษา

ข้อมูลในที่นี้ไม่มีเจตนาให้ใช้ทดแทนคำแนะนำทางการแพทย์ ควรปรึกษาแพทย์ทุกครั้งเพื่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

การวินิจฉัยเนโฟรติก ซินโดรม (Nephrotic Syndrome)

ในเบื้องต้นแพทย์จะทำการวินิจฉัยผํู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเนโฟรติก ซินโดรม ด้วยการสอบถามประวัติและอาการของผู้ป่วย และตรวจปัสสาวะเพื่อหาระดับโปรตีนในน้ำปัสสาวะ 

ในผู้ป่วยบางรายแพทย์อาจต้องตรวจชื้นเนื้อไต เพื่อนำตัวอย่างเนื้อเยื่อไปตรวจเพื่อทำการวินิจฉัย

การรักษาเนโฟรติก ซินโดรม

วิธีการรักษาเนโฟรติก ซินโดรม จะขึ้นอยู่กับสาเหตุและอาการของผู้ป่วย โดยแพทย์จะรักษาตามลักษณะอาการ ดังต่อไปนี้ 

  • ยาลดความดันโลหิต เช่น ยากลุ่มแองจิโอเทนซิน ช่วยลดปริมาณโปรตีนในปัสสาวะ 
  • ยาลดคอเลสเตอรอล  เช่น กลุ่มยาสแตติน ช่วยต้านการแข็งตัวของเลือด ให้เลือดอุดตันน้อยลง
  • ยากดภูมิคุ้มกัน เช่น ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ ซึ่งอาจช่วยลดการอักเสบของโรคบางชนิด

การเปลี่ยนไลฟ์สไตล์และการเยียวยาตัวเอง

การเปลี่ยนไลฟ์สไตล์และการเยียวยาตัวเอง เพื่อป้องกันเนโฟรติก ซินโดรม

การเปลี่ยนไลฟ์สไตล์และการเยียวยาตัวเอง เพื่อป้องกันเนโฟรติก ซินโดรมมีดังต่อไปนี้ 

หมายเหตุ

Hello Health Group ไม่ได้ให้คำแนะนำด้านการแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาโรคแต่อย่างใด

Nephrotic syndrome. https://www.mayoclinic.org/diseases-conditions/nephrotic-syndrome/symptoms-causes/syc-20375608.  Accessed February 16, 2020.

Nephrotic Syndrome. https://emedicine.medscape.com/article/244631-overview. Accessed February 16, 2020.

What Is Nephrotic Syndrome?. https://www.webmd.com/a-to-z-guides/what-is-nephrotic-syndrome#1.  Accessed February 16, 2020.

Diagnosis and Management of Nephrotic Syndrome in Adults. https://www.aafp.org/afp/2016/0315/p479.html. Accessed February 16, 2020.

 

เวอร์ชันปัจจุบัน

01/03/2021

เขียนโดย จินดารัตน์ สิริวิจักษณ์

ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดย ทีม Hello คุณหมอ

อัปเดตโดย: สิฏฐิณิศา รัชตวโรทัย


บทความที่เกี่ยวข้อง

มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ (Bladder Cancer)

ปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน (Nocturia)


ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดย

ทีม Hello คุณหมอ


เขียนโดย จินดารัตน์ สิริวิจักษณ์ · แก้ไขล่าสุด 01/03/2021

ad iconโฆษณา

คุณได้รับประโยชน์จากบทความนี้หรือไม่?

ad iconโฆษณา
ad iconโฆษณา