- หัวหอม = 10
- กะหล่ำปลี = 10
- มะเขือเทศ = 15
- แตงกวา = 15
- บร็อคโคลี่ =I 15
- พริกหวาน = 15
- ผักชีฝรั่ง = 35
- มันฝรั่ง = 80-90
ค่า Glycemic Index ของธัญพืชและผลิตภัณฑ์จากธัญพืช
- ข้าวบาร์เลย์ = 28
- เส้นสปาเก็ตตี้โฮลวีท = 48
- เส้นสปาเก็ตตี้จากแป้งขัดสี = 49
- ขนมปังโฮลวีต = 74
- ขนมปังขาว = 75
ค่า Glycemic Index ของนมและผลิตภัณฑ์จากนม
- โยเกิร์ต = 14
- นมจืด = 27
- นมถั่วเหลือง = 30
- เนย = 50
ค่า Glycemic Index ของของว่าง
- ช็อกโกแลต = 40
- มันฝรั่งทอดกรอบ = 56
- น้ำอัดลม =59
- ป๊อปคอร์น = 65
ค่า Glycemic Index ของอาหารอื่น ๆ
- เนื้อไก่ = 0
- ไข่ไก่ = 0
- ปลา = 0
- เนื้อหมู = 0
- เนื้อวัว = 0
- น้ำมันหมู = 0
- ถั่วต่าง ๆ = 0-22
- มะม่วงหิมพานต์ = 22
- เมล็ดทานตะวัน = 35
ข้อควรรู้ ก่อนเลือกบริโภคอาหารโดยคำนึงถึง Glycemic Index มีดังนี้
ก่อนเลือกรับประทานอาหาร ผู้ป่วยเบาหวานควรศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับค่าดัชนีน้ำตาลดังต่อไปนี้
- ค่าดัชนีน้ำตาลไม่ใช่ตัวบ่งชี้ว่าผู้ป่วยเบาหวานควรรับประทานอาหารแต่ละชนิดมากน้อยเพียงใด
- ค่าดัชนีน้ำตาลไม่ใช่ตัวบ่งชี้ของคุณค่าทางโภชนาการของอาหาร
- เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ให้สูงเกินไป ผู้ป่วยเบาหวานควรบริโภคอาหารที่มีค่าดัชนีน้ำตาลอยู่ในระดับต่ำหรือปานกลาง
- เมื่อรับประทานอาหารที่ค่าดัชนีน้ำตาลสูง ควรรับประทานอาหารที่ดัชนีน้ำตาลต่ำร่วมด้วย
- อาหารที่มีใยอาหารหรือไขมันสูง มีแนวโน้มที่จะมีค่าดัชนีน้ำตาลต่ำด้วย
- อาหารแปรรูปมีแนวโน้มจะมีค่าดัชนีน้ำตาลสูงกว่าอาหารสด เช่น น้ำผลไม้และมันฝรั่งแผ่นทอดกรอบ มีค่าดัชนีน้ำตาลสูงกว่าผลไม้หรือมันฝรั่งสด
- การทำอาหารสัมพันธ์กับค่าดัชนีน้ำตาลในอาหารด้วย เช่น พาสต้าที่ใช้เวลาต้มนาน มีค่าดัชนีน้ำตาลที่สูงกว่าพาสต้าที่ต้มโดยใช้เวลาน้อยกว่า
- นอกจากการคำนึงถึงค่าดัชนีน้ำตาลแล้ว ผู้ป่วยเบาหวานควรคำนึงถึงป้จจัยต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ด้วย เช่น ปริมาณอาหารที่รับประทาน ระดับแคลอรี่ที่ควรได้รับในแต่ละวัน สัดส่วนคาร์โบไฮเดรตในอาหาร
ความคิดเห็นทั้งหมด
แบ่งปันความคิดเห็นของคุณ
ร่วมแสดงความคิดเห็นของคุณกับ Hello คุณหมอ
สมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ เพื่อร่วมการพูดคุย