ตาเข (Strabismus) เป็นภาวะดวงตาที่พบได้บ่อยที่สุดในเด็กทารก ดวงตาทั้ง 2 ข้างไม่สามารถมองในจุดเดียวกันในเวลาเดียวกันได้ โดยดวงตาข้างหนึ่งจะมองไปด้านข้าง และดวงตาอีกข้างหนึ่งอาจมองไปทางซ้ายหรือขวา
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดย ทีม Hello คุณหมอ
ตาเข (Strabismus) เป็นภาวะดวงตาที่พบได้บ่อยที่สุดในเด็กทารก ดวงตาทั้ง 2 ข้างไม่สามารถมองในจุดเดียวกันในเวลาเดียวกันได้ โดยดวงตาข้างหนึ่งจะมองไปด้านข้าง และดวงตาอีกข้างหนึ่งอาจมองไปทางซ้ายหรือขวา
อย่างไรก็ตาม อาการตาเข อาจส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการปวดศีรษะ มองเห็นไม่ชัด หากไม่ได้รับการรักษาตั้งแต่เนิ่น ๆ อาจส่งผลให้สูญเสียการมองเห็นบางส่วนไปได้
โดยส่วนใหญ่มักพบผู้ป่วยที่มี อาการตาเข ตั้งแต่กำเนิด แต่จะได้รับการการยืนยันการวินิจฉัยโรคเมื่ออายุครบ 3 เดือน
อาการตาเข เกิดขึ้นเมื่อกล้ามเนื้อรอบดวงตาไม่ทำงานประสานกัน ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการ ดังต่อไปนี้
ในปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริงของ อาการตาเข โดยส่วนใหญ่มักเป็นโดยกำเนิด รวมถึงสาเหตุและปัจจัยอื่น ๆ ดังต่อไปนี้
ข้อมูลในที่นี้ไม่มีเจตนาให้ใช้ทดแทนคำแนะนำทางการแพทย์ ควรปรึกษาแพทย์ทุกครั้งเพื่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยที่เหมาะสม คุณหมออาจทำการตรวจดังต่อไปนี้
วิธีการรักษา อาการตาเข มีจุดมุ่งหมายเพื่อปรับวิสัยทัศน์การมองเห็นให้ดียิ่งขึ้น ในกรณีกลุ่มผู้ใหญ่ที่มี อาการตาเข เพียงเล็กน้อย ซึ่งอาจจะเป็น ๆ หาย ๆ แพทย์อาจแก้ปัญหาได้ด้วยการสวมใส่แว่นตาและบริหารกล้ามเนื้อดวงตา เพื่อทำให้ดวงตาไม่เข แต่ถ้ามีอาการรุนแรงมากขึ้น อาจต้องเข้ารับผ่าตัดเพื่อปรับสมดุลให้ดวงตาอีกครั้ง หากอาการตาเหล่เกิดขึ้นจากภาวะตามัว ก็จำเป็นต้องแก้ปัญหาเรื่องตามัวก่อน การผ่าตัดรักษาอาการตาเหล่ถึงจะประสบผลสำเร็จ รวมถึงวิธีการรักษาด้านอื่น ๆ ดังต่อไปนี้
การเปลี่ยนไลฟ์สไตล์และการดูแลรักษาตัวเองดังต่อไปนี้ จะช่วยให้รับมือกับอาการตาเขได้ดียิ่งขึ้น
Hello Health Group ไม่ได้ให้คำแนะนำด้านการแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาโรคแต่อย่างใด
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดย
ทีม Hello คุณหมอ
ความคิดเห็นทั้งหมด
แบ่งปันความคิดเห็นของคุณ
ร่วมแสดงความคิดเห็นของคุณกับ Hello คุณหมอ
สมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ เพื่อร่วมการพูดคุย