เส้นเอ็นฉีกขาด (Ruptured Tendon) หมายถึงอาการที่เส้นเอ็นส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือเส้นเอ็นทั้งเส้นฉีกขาดออกจากกัน อาจเกิดขึ้นจากการออกแรงมากเกินไป หรือเกิดการบาดเจ็บ
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดย ทีม Hello คุณหมอ
เส้นเอ็นฉีกขาด (Ruptured Tendon) หมายถึงอาการที่เส้นเอ็นส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือเส้นเอ็นทั้งเส้นฉีกขาดออกจากกัน อาจเกิดขึ้นจากการออกแรงมากเกินไป หรือเกิดการบาดเจ็บ
เส้นเอ็นฉีกขาด คืออะไร
เส้นเอ็นฉีกขาด (Ruptured Tendon) หมายถึงอาการที่เส้นเอ็นส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือเส้นเอ็นทั้งเส้นฉีกขาดออกจากกัน เส้นเอ็นนั้นคือเนื้อเยื่อเส้นใย ที่ยึดให้กล้ามเนื้อติดเข้ากับกระดูก โดยปกติแล้วเส้นเอ็นนั้นจะมีความแข็งแรงมาก และสามารถรับแรงได้มากถึง 5 เท่าของน้ำหนักตัว แต่หากเราออกแรงมากเกินไป หรือเกิดการบาดเจ็บ เช่น จากการเล่นกีฬา หรือการหกล้ม ก็อาจทำให้เส้นเอ็นเกิดการฉีกขาดได้ นอกจากนี้ การใช้ยาบางอย่าง หรือโรคบางชนิดก็อาจทำให้เกิดอาการเส้นเอ็นฉีกขาดได้เช่นกัน
บริเวณที่อาจเกิดอาการเส้นเอ็นขาดได้มากที่สุดคือ
อาการเส้นเอ็นฉีกขาดนั้นพบได้ไม่ค่อยบ่อยเท่าไหร่นัก โดยส่วนใหญ่แล้วมักจะพบอาการเส้นเอ็นฉีกขาดได้ในผู้สูงอายุ กับผู้ที่มีปัญหาเส้นเอ็นอ่อนแอจากปัจจัยต่างๆ อาการนี้หากปล่อยทิ้งไว้ไม่ทำการรักษา อาจกลายเป็นปัญหาใหญ่ได้ในภายหลัง
อาการที่อาจเป็นสัญญาณของเส้นเอ็นฉีกขาดมีดังต่อไปนี้
อาการเส้นเอ็นฉีกขาดนี้หากปล่อยทิ้งไว้ไม่ทำการรักษา อาจกลายไปเป็นปัญหาสำคัญ ดังนั้นจึงควรรีบติดต่อแพทย์ในทันที หากคุณมีอาการดังต่อไปนี้
สาเหตุโดยทั่วไปของอาการเส้นเอ็นฉีกขาดคือ
โปรดปรึกษาแพทย์สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม
ปัจจัยที่อาจเพิ่มความเสี่ยงให้เส้นเอ็นฉีกขาดมีดังต่อไปนี้
ข้อมูลที่นำเสนอไม่สามารถใช้แทนข้อแนะนำทางการแพทย์ได้ โปรดปรึกษาแพทย์สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม
แพทย์จะเริ่มจากการซักประวัติ และตรวจร่างกายคร่าวๆ เพื่อดูว่าอาการบาดเจ็บของคุณเป็นอย่างไร คุณสามารถขยับตัวได้มากแค่ไหน นอกจากนี้ก็อาจจะตามด้วยการตรวจดังต่อไปนี้
การรักษาอาการเส้นเอ็นฉีกขาดนั้นจะขึ้นอยู่กับ บริเวณที่เส้นเอ็นฉีก และความรุนแรงของอาการ โดอาจรักษาด้วยวิธีดังต่อไปนี้
หากมีคำถาม โปรดปรึกษาแพทย์เพื่อให้เข้าใจวิธีการรักษาที่ดีที่สุดสำหรับคุณ
Hello Health Group ไม่ได้ให้คำแนะนำด้านการแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาโรคแต่อย่างใด
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดย
ทีม Hello คุณหมอ
ความคิดเห็นทั้งหมด
แบ่งปันความคิดเห็นของคุณ
ร่วมแสดงความคิดเห็นของคุณกับ Hello คุณหมอ
สมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ เพื่อร่วมการพูดคุย